วันอาทิตย์ที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2552

ตะลึง!!!"จอดำมรณะ"บน Windows 7


ตะลึง!!!"จอดำมรณะ"บน Windows 7

เมื่อสัปดาห์ทีผ่านมา ผู้ใช้ Windows 7 จำนวนหนึ่งเริ่มไม่พอใจที่จู่ๆ คอมพิวเตอร์ของพวกเขาก็ปิดตาย (lock up) ตัวเองด้วยการแสดงหน้าจอดำสนิท ซึ่งอาการดังกล่าวเรียกว่า Black Screen of Death คนละอาการกับ Blue Screen of Death (BSOD) ที่เราคุ้นเคย โดยอาการดังกล่าวเกิดขึ้นหลังจากที่ได้มีการอัพเดตแพตช์เมื่อวันอังคารที่ 10 พฤศจิกายนทีผ่านมา
ล่าสุดทางไมโครซอฟท์ได้รับแจ้งปัญหา"จอดำมรณะ"ทีเกิดขึ้นกับผู้ใช้เรียบร้อยแล้ว แต่ก็ยังไม่ได้ยืนยัน หรือปฏิเสธปัญหาที่เกิดขึ้นแต่อย่างใด เพียงแต่บอกว่า ขณะนี้ทางบริษัทกำลังตรวจสอบว่าตัวอัพเดตล่าสุดเป็นตัวการที่ทำให้เกิดปัญหากับลูกค้าบางรายหรือไม่ซึ่งหากได้ข้อสรุปที่ชัดเจนแล้วทางบริษัทจะแจกแจงรายละเอียดเกี่ยวกับวิธีป้องกัน หรือชี้ชัดต้นตอของปัญหาให้ได้ทราบกันอีกที








สำหรับแพตช์ล่าสุดจะมีการเปลี่ยนแปลงการทำงานของ Access Control List (ACL) ซึ่งเป็นรายการในการให้สิทธิ์กับผู้ใช้ที่ล็อกออนเข้าสู่ระบบปฏิบัติการ(ในรีจิสทรี)ผลลัพธ์จากการแก้ไขการทำงานดังกล่าวทำให้แอพพลิเค-ชันบางตัวที่ติดตั้งเข้าไปในเครื่องของผู้ใช้ก่อนหน้านี้(โดยเฉพาะผลิตภัณฑ์ระบบรักษาความปลอดภัยต่างๆ)ซึ่งพวกมันจะไม่มีทางทราบถึงการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเหล่านี้ ส่งผลให้เกิดข้อผิดพลาดของการทำงานและอาจะเป็นสาเหตุให้เกิดอาการ "จอดำมรณะ"ได้ในที่สุด ไมโครซอฟท์ตั้งใจที่จะปรับปรุงระบบรักษาความปลอดภัยของวินโดวส์แต่ผลลัพธ์กลับทำให้ระบบรักษาความปลอดภัยของผู้ใช้มีปัญหาจนทำให้ระบบล่มของการทำงานในที่สุด





Prevx บริษัทผู้เชี่ยวชาญทางด้านระบบรักษาความปลอดภัยตังข้อสังเกตไว้ในบล็อกว่า "หลังจากอัพเดตแพตช์ และรีสตาร์ท Windows 7, Vista, XP, NT, W2K, W2K3 หรือ W2K8 บนพีซี หรือเซิร์ฟเว่อร์ ระบบจะสามารถทำงานได้ปกติดี จนกระทั่งล็อกออนเข้าไปปรากฎว่ามันไม่แสดงเดสก์ทอป ทาสก์บาร์ ซิสเต็มเทรย หรือไซด์บาร์ให้เห็นแต่อย่างใด คงมีเพียงแค่หน้าจอดำสนิท กับหน้าต่าง Windows Explorer ค้างอยู่เท่านั้น ซึ่งบางทีมันก็ถูกมินิไมซ์จนทำให้อาจมองไม่เห็นได้" ในขณะที่ไมโครซอฟท์ยังไม่สรุปปัญหาที่พบ ทาง Prevx ได้ออกซอฟต์แวร์แก้ไขปัญหา (48.3KB) ที่เข้าไปแก้ไขรีจิสทรีให้เหมาะสม (สามารถเข้าไปแก้ไขโดยตรง โดยไม่ต้องใช้ซอฟต์แวร์ก็ได้) และสอดคล้องกับข้อกำหนดของ ACL เรียบร้อยแล้ว ข้อมูลจาก: Techspot

ตะลึง!!!"จอดำมรณะ"บน Windows 7

ตะลึง!!!"จอดำมรณะ"บน Windows 7

เมื่อสัปดาห์ทีผ่านมา ผู้ใช้ Windows 7 จำนวนหนึ่งเริ่มไม่พอใจที่จู่ๆ คอมพิวเตอร์ของพวกเขาก็ปิดตาย (lock up) ตัวเองด้วยการแสดงหน้าจอดำสนิท ซึ่งอาการดังกล่าวเรียกว่า Black Screen of Death คนละอาการกับ Blue Screen of Death (BSOD) ที่เราคุ้นเคย โดยอาการดังกล่าวเกิดขึ้นหลังจากที่ได้มีการอัพเดตแพตช์เมื่อวันอังคารที่ 10 พฤศจิกายนทีผ่านมา
ล่าสุดทางไมโครซอฟท์ได้รับแจ้งปัญหา"จอดำมรณะ"ทีเกิดขึ้นกับผู้ใช้เรียบร้อยแล้ว แต่ก็ยังไม่ได้ยืนยัน หรือปฏิเสธปัญหาที่เกิดขึ้นแต่อย่างใด เพียงแต่บอกว่า ขณะนี้ทางบริษัทกำลังตรวจสอบว่าตัวอัพเดตล่าสุดเป็นตัวการที่ทำให้เกิดปัญหากับลูกค้าบางรายหรือไม่ซึ่งหากได้ข้อสรุปที่ชัดเจนแล้วทางบริษัทจะแจกแจงรายละเอียดเกี่ยวกับวิธีป้องกัน หรือชี้ชัดต้นตอของปัญหาให้ได้ทราบกันอีกที



สำหรับแพตช์ล่าสุดจะมีการเปลี่ยนแปลงการทำงานของ Access Control List (ACL) ซึ่งเป็นรายการในการให้สิทธิ์กับผู้ใช้ที่ล็อกออนเข้าสู่ระบบปฏิบัติการ(ในรีจิสทรี)ผลลัพธ์จากการแก้ไขการทำงานดังกล่าวทำให้แอพพลิเค-ชันบางตัวที่ติดตั้งเข้าไปในเครื่องของผู้ใช้ก่อนหน้านี้(โดยเฉพาะผลิตภัณฑ์ระบบรักษาความปลอดภัยต่างๆ)ซึ่งพวกมันจะไม่มีทางทราบถึงการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเหล่านี้ ส่งผลให้เกิดข้อผิดพลาดของการทำงานและอาจะเป็นสาเหตุให้เกิดอาการ "จอดำมรณะ"ได้ในที่สุด ไมโครซอฟท์ตั้งใจที่จะปรับปรุงระบบรักษาความปลอดภัยของวินโดวส์ แต่ผลลัพธ์กลับทำให้ระบบรักษาความปลอดภัยของผู้ใช้มีปัญหา จนทำให้ระบบล่มของการทำงานในที่สุด
Prevx บริษัทผู้เชี่ยวชาญทางด้านระบบรักษาความปลอดภัยตังข้อสังเกตไว้ในบล็อกว่า "หลังจากอัพเดตแพตช์ และรีสตาร์ท Windows 7, Vista, XP, NT, W2K, W2K3 หรือ W2K8 บนพีซี หรือเซิร์ฟเว่อร์ ระบบจะสามารถทำงานได้ปกติดี จนกระทั่งล็อกออนเข้าไปปรากฎว่ามันไม่แสดงเดสก์ทอป ทาสก์บาร์ ซิสเต็มเทรย หรือไซด์บาร์ให้เห็นแต่อย่างใด คงมีเพียงแค่หน้าจอดำสนิท กับหน้าต่าง Windows Explorer ค้างอยู่เท่านั้น ซึ่งบางทีมันก็ถูกมินิไมซ์จนทำให้อาจมองไม่เห็นได้" ในขณะที่ไมโครซอฟท์ยังไม่สรุปปัญหาที่พบ ทาง Prevx ได้ออกซอฟต์แวร์แก้ไขปัญหา (48.3KB) ที่เข้าไปแก้ไขรีจิสทรีให้เหมาะสม (สามารถเข้าไปแก้ไขโดยตรง โดยไม่ต้องใช้ซอฟต์แวร์ก็ได้) และสอดคล้องกับข้อกำหนดของ ACL เรียบร้อยแล้ว
ข้อมูลจาก:
Techspot

วันพฤหัสบดีที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2552

ความรู้ใหม่ที่ได้จากข้อที่5

ความรู้ที่ได้จากAdobe Photoshop และโปรแกรม Macromedia Dreamweaver
1.ได้ความรู้เกี่ยวกับแถบเครื่องมือ การใช้อุปกรณ์ต่างๆ
2.การตัดการเพิ่มวีดีโอต่างๆ
และไม่ว่าจะเกี่ยวกับ
แต่งหน้าเวบไซ ใส่ภาพ
แรเงาต่างๆมากมาย

Macromedia Dreamweaver

การสร้างเว็บไซต์ด้วยโปแนะนำการใช้เครื่องมือใน Macromedia Dreamweaver
• Menu bar เป็นแถบที่ใช้เก็บคำสั่งทั้งหมดของโปรแกรม
• Tool bar เป็นแถบที่รวบรวมปุ่มคำสั่งที่ใช้ง่ายบ่อย
• Status bar
• Properties (Properties Inspector) แต่ละ Object ที่เรานำมาใช้สร้างหน้าเว็บเพจจะมีคุณสมบัติต่างๆ ที่เราสามารถปรับแต่งได้
• ส่วน Panel Group เป็นส่วนที่เพิ่มขึ้นมาเพื่อให้สามารถใช้ในการติดต่อกับฐานข้อมูลฝั่งเซิร์ฟเวอร์ เพื่อให้ง่ายในการสร้าง Application บน Internet การสร้างและดูแลเว็บด้วย Macromedia Dreamweaver MX สุวิมล คงศักดิ์ตระกูล
• ส่วน Panel Group เป็นส่วนที่เพิ่มขึ้นมาเพื่อให้สามารถใช้ในการติดต่อกับฐานข้อมูลฝั่งเซิร์ฟเวอร์ เพื่อให้ง่ายในการสร้าง Application บน Internet
• รายละเอียดของแท็บ Insert (Insert Bar) เป็นกลุ่มเครื่องมือองค์ประกอบต่างๆ (Object) ที่จะนำมาสร้างหน้าเว็บเพจ มี 12 กลุ่ม ดังนี้
- Common เป็นส่วนที่รวบรวมกลุ่มเครื่องมือที่ใช้สร้างองค์ประกอบต่างๆ ของเว็บ เช่นการแทรกภาพ การแทรกตาราง การกำหนดลิงค์ เป็นต้น
กำหนดลิงค์ กำหนดอีเมล์ลิงค์ แทรกตาราง แทรกรูปภาพ แทรกFlash แทรกวันที่ กำหนดลิงค์ในเว็บเพจเดียวกัน
- Layout เป็นส่วนรวมเครื่องมือที่ช่วยในการจัดองค์ประกอบของหน้าเว็บเพจ
- Text เป็นที่รวบรวมคำสั่งเกี่ยวกับการใช้งานตัวอักษร
- Table รวบรวมคำสั่งในการสร้างตารางให้กับเว็บเพจ
- Frames รวบรวมคำสั่งที่ใช้ในการแบ่งหน้าเว็บเพจให้ออกเป็นส่วนย่อย
- Forms แทรกเครื่องที่ใช้ในการสร้างแบบสอบถาม และตัวเลือกต่างๆ
- Templates ใช้ในการกำหนดรูปแบบให้กับเว็บเพจ
- Characters เป็นกลุ่มเครื่องมือที่ใช้แทรกตัวอักษร และสัญลักษณ์พิเศษ
การแทรก Line Break การแทรกที่ว่าง
- Media สำหรับแทรกไฟล์วิดีโอ , ภาพเคลื่อนไหว, Flash, Java applet, ActiveX หรือ Plugin ในหน้าเว็บ
การแทรกไฟล์ Flash การสร้างปุ่มแบบ Flash การสร้างตัวอักษรแบบ Flash
- Head เป็นการแทรกคำสั่งเสริมในหน้าเว็บ เช่น คีย์เวิร์ด เพื่อให้ Search Engine สามารถค้นหาเว็บเราได้
- Script ใช้ในการแทรกภาษาสคริปต์ในเว็บ
- Application เป็นแท็บที่รวบรวมคำสั่งที่ใช้สร้างแอพพลิเคชั่นติดต่อกับฐานข้อมูลผ่านเว็บเซิร์ฟเวอร์
• หน้าต่างเว็บเพจ (Document Window) สำหรับหน้าต่างการทำงาน Macromedia Dreamweaver MX สามารถเลือกได้ 3 รูปแบบ เอกสารประกอบการอบรมโค รงการอบรมสำหรับผู้ดูแลเว็บหน่วยงานของมหาวิทยาลัย Show Code View เป็นหน้าต่างที่แสดงเฉพาะ HTML ของเว็บเพจที่เรากำลังทำงานอยู่ Show Code and Design Views เป็นหน้าต่างที่แสดงทั้ง HTML และหน้าเว็บเพจที่ออกแบบ Show Design View แสดงแต่หน้าเว็บเพจปกติไม่แสดง HTML โปรแกรม Macromedia Dreamweaver 8

Macromedia Dreamweaver

การสร้างเว็บไซต์ด้วยโปแนะนำการใช้เครื่องมือใน Macromedia Dreamweaver
• Menu bar เป็นแถบที่ใช้เก็บคำสั่งทั้งหมดของโปรแกรม
• Tool bar เป็นแถบที่รวบรวมปุ่มคำสั่งที่ใช้ง่ายบ่อย
• Status bar
• Properties (Properties Inspector) แต่ละ Object ที่เรานำมาใช้สร้างหน้าเว็บเพจจะมีคุณสมบัติต่างๆ ที่เราสามารถปรับแต่งได้
• ส่วน Panel Group เป็นส่วนที่เพิ่มขึ้นมาเพื่อให้สามารถใช้ในการติดต่อกับฐานข้อมูลฝั่งเซิร์ฟเวอร์ เพื่อให้ง่ายในการสร้าง Application บน Internet การสร้างและดูแลเว็บด้วย Macromedia Dreamweaver MX สุวิมล คงศักดิ์ตระกูล
• ส่วน Panel Group เป็นส่วนที่เพิ่มขึ้นมาเพื่อให้สามารถใช้ในการติดต่อกับฐานข้อมูลฝั่งเซิร์ฟเวอร์ เพื่อให้ง่ายในการสร้าง Application บน Internet
• รายละเอียดของแท็บ Insert (Insert Bar) เป็นกลุ่มเครื่องมือองค์ประกอบต่างๆ (Object) ที่จะนำมาสร้างหน้าเว็บเพจ มี 12 กลุ่ม ดังนี้
- Common เป็นส่วนที่รวบรวมกลุ่มเครื่องมือที่ใช้สร้างองค์ประกอบต่างๆ ของเว็บ เช่นการแทรกภาพ การแทรกตาราง การกำหนดลิงค์ เป็นต้น
กำหนดลิงค์ กำหนดอีเมล์ลิงค์ แทรกตาราง แทรกรูปภาพ แทรกFlash แทรกวันที่ กำหนดลิงค์ในเว็บเพจเดียวกัน
- Layout เป็นส่วนรวมเครื่องมือที่ช่วยในการจัดองค์ประกอบของหน้าเว็บเพจ
- Text เป็นที่รวบรวมคำสั่งเกี่ยวกับการใช้งานตัวอักษร
- Table รวบรวมคำสั่งในการสร้างตารางให้กับเว็บเพจ
- Frames รวบรวมคำสั่งที่ใช้ในการแบ่งหน้าเว็บเพจให้ออกเป็นส่วนย่อย
- Forms แทรกเครื่องที่ใช้ในการสร้างแบบสอบถาม และตัวเลือกต่างๆ
- Templates ใช้ในการกำหนดรูปแบบให้กับเว็บเพจ
- Characters เป็นกลุ่มเครื่องมือที่ใช้แทรกตัวอักษร และสัญลักษณ์พิเศษ
การแทรก Line Break การแทรกที่ว่าง
- Media สำหรับแทรกไฟล์วิดีโอ , ภาพเคลื่อนไหว, Flash, Java applet, ActiveX หรือ Plugin ในหน้าเว็บ
การแทรกไฟล์ Flash การสร้างปุ่มแบบ Flash การสร้างตัวอักษรแบบ Flash
- Head เป็นการแทรกคำสั่งเสริมในหน้าเว็บ เช่น คีย์เวิร์ด เพื่อให้ Search Engine สามารถค้นหาเว็บเราได้
- Script ใช้ในการแทรกภาษาสคริปต์ในเว็บ
- Application เป็นแท็บที่รวบรวมคำสั่งที่ใช้สร้างแอพพลิเคชั่นติดต่อกับฐานข้อมูลผ่านเว็บเซิร์ฟเวอร์
• หน้าต่างเว็บเพจ (Document Window) สำหรับหน้าต่างการทำงาน Macromedia Dreamweaver MX สามารถเลือกได้ 3 รูปแบบ เอกสารประกอบการอบรมโค รงการอบรมสำหรับผู้ดูแลเว็บหน่วยงานของมหาวิทยาลัย Show Code View เป็นหน้าต่างที่แสดงเฉพาะ HTML ของเว็บเพจที่เรากำลังทำงานอยู่ Show Code and Design Views เป็นหน้าต่างที่แสดงทั้ง HTML และหน้าเว็บเพจที่ออกแบบ Show Design View แสดงแต่หน้าเว็บเพจปกติไม่แสดง HTML โปรแกรม Macromedia Dreamweaver 8

Macromedia Dreamweaver

การสร้างเว็บไซต์ด้วยโปแนะนำการใช้เครื่องมือใน Macromedia Dreamweaver
• Menu bar เป็นแถบที่ใช้เก็บคำสั่งทั้งหมดของโปรแกรม
• Tool bar เป็นแถบที่รวบรวมปุ่มคำสั่งที่ใช้ง่ายบ่อย
• Status bar
• Properties (Properties Inspector) แต่ละ Object ที่เรานำมาใช้สร้างหน้าเว็บเพจจะมีคุณสมบัติต่างๆ ที่เราสามารถปรับแต่งได้
• ส่วน Panel Group เป็นส่วนที่เพิ่มขึ้นมาเพื่อให้สามารถใช้ในการติดต่อกับฐานข้อมูลฝั่งเซิร์ฟเวอร์ เพื่อให้ง่ายในการสร้าง Application บน Internet การสร้างและดูแลเว็บด้วย Macromedia Dreamweaver MX สุวิมล คงศักดิ์ตระกูล
• ส่วน Panel Group เป็นส่วนที่เพิ่มขึ้นมาเพื่อให้สามารถใช้ในการติดต่อกับฐานข้อมูลฝั่งเซิร์ฟเวอร์ เพื่อให้ง่ายในการสร้าง Application บน Internet
• รายละเอียดของแท็บ Insert (Insert Bar) เป็นกลุ่มเครื่องมือองค์ประกอบต่างๆ (Object) ที่จะนำมาสร้างหน้าเว็บเพจ มี 12 กลุ่ม ดังนี้
- Common เป็นส่วนที่รวบรวมกลุ่มเครื่องมือที่ใช้สร้างองค์ประกอบต่างๆ ของเว็บ เช่นการแทรกภาพ การแทรกตาราง การกำหนดลิงค์ เป็นต้น
กำหนดลิงค์ กำหนดอีเมล์ลิงค์ แทรกตาราง แทรกรูปภาพ แทรกFlash แทรกวันที่ กำหนดลิงค์ในเว็บเพจเดียวกัน
- Layout เป็นส่วนรวมเครื่องมือที่ช่วยในการจัดองค์ประกอบของหน้าเว็บเพจ
- Text เป็นที่รวบรวมคำสั่งเกี่ยวกับการใช้งานตัวอักษร
- Table รวบรวมคำสั่งในการสร้างตารางให้กับเว็บเพจ
- Frames รวบรวมคำสั่งที่ใช้ในการแบ่งหน้าเว็บเพจให้ออกเป็นส่วนย่อย
- Forms แทรกเครื่องที่ใช้ในการสร้างแบบสอบถาม และตัวเลือกต่างๆ
- Templates ใช้ในการกำหนดรูปแบบให้กับเว็บเพจ
- Characters เป็นกลุ่มเครื่องมือที่ใช้แทรกตัวอักษร และสัญลักษณ์พิเศษ
การแทรก Line Break การแทรกที่ว่าง
- Media สำหรับแทรกไฟล์วิดีโอ , ภาพเคลื่อนไหว, Flash, Java applet, ActiveX หรือ Plugin ในหน้าเว็บ
การแทรกไฟล์ Flash การสร้างปุ่มแบบ Flash การสร้างตัวอักษรแบบ Flash
- Head เป็นการแทรกคำสั่งเสริมในหน้าเว็บ เช่น คีย์เวิร์ด เพื่อให้ Search Engine สามารถค้นหาเว็บเราได้
- Script ใช้ในการแทรกภาษาสคริปต์ในเว็บ
- Application เป็นแท็บที่รวบรวมคำสั่งที่ใช้สร้างแอพพลิเคชั่นติดต่อกับฐานข้อมูลผ่านเว็บเซิร์ฟเวอร์
• หน้าต่างเว็บเพจ (Document Window) สำหรับหน้าต่างการทำงาน Macromedia Dreamweaver MX สามารถเลือกได้ 3 รูปแบบ เอกสารประกอบการอบรมโค รงการอบรมสำหรับผู้ดูแลเว็บหน่วยงานของมหาวิทยาลัย Show Code View เป็นหน้าต่างที่แสดงเฉพาะ HTML ของเว็บเพจที่เรากำลังทำงานอยู่ Show Code and Design Views เป็นหน้าต่างที่แสดงทั้ง HTML และหน้าเว็บเพจที่ออกแบบ Show Design View แสดงแต่หน้าเว็บเพจปกติไม่แสดง HTML โปรแกรม Macromedia Dreamweaver 8

Adobe Photoshop และโปรแกรม Macromedia Dreamweaver

1. การเข้าสู่โปรแกรม Photoshop
Click Desktop
หรือ Click ปุ่ม Start>Program>Adobe Photoshop พื้นที่ทำงาน Memu Bar แถบกลุ่มคำสั่งสำหรับการทำงานทั้งหมดใน Photoshop Option Bar แถบสำหรับแสดงส่วนตัวเลือกหรือส่วนปรับแต่งเสริมการทำงานของเครื่องมือ (Tool) ที่เราเลือกใช้งานจากใน Tool Box Toolbox เป็นกล่องเก็บเครื่องมือต่างสำหรับใช้ทำงานบนพื้นที่งาน Active Image Area พื้นที่งานซึ่งสามารถเปิดทำงานพร้อมกันได้หลายๆ กรอบแต่สามารถเลือกทำงานได้ทีละกรอบเท่านั้น Palette Well ส่วนสำหรับจัดเก็บหน้าต่าง Palette ที่เราอาจจำเป็นต้องงานเป็นระยะๆ (แต่ไม่ตลอดเวลาเราสามารถเลือก Palette บางชิ้นมาใส่ไว้ใน Palette Well นี้ได้ Palette เป็นหน้าต่างย่อย สำหรับอำนวยความสะดวกในการทำงานและเป็นส่วนควบคุมส่วนย่อยในการทำงานด้วย เช่น กำหนดค่าสี การทำงานLayer บันทึกแก้ไขการทำงาน History
2. ก่อนจะเริ่มทำงานจะต้องกำหนดค่าให้กับมาเป็นค่า Default
Menu Window - Reset Palette Location - ใช้ Mouse Click ขวาที่ Option bar และเลือก Reset all tools การเปิดหน้างานใหม่ Menu File
New หรือ กด Ctrl + N
เกิดหน้าต่าง New
กำหนดค่างานสำหรับสร้างงานเวบไซต์
Name : ใส่ชื่อ
Image size : ขนาดของ File ซึ่งเปลี่ยนแปลงตามขนาด และ Resolution
Width : ความกว้าง เช่น Pixcel เซนติเมตร นิ้ว
Height : ความสูง เช่น Pixcel เซนติเมตร นิ้ว
Resolution : ค่าความละเอียด (ซึ่งความละเอียดบนหน้าจอ = 72)
Mode : ใช้ Mode RGB Color สำหรับงานออกแบบเวบไซต์
เกร็ดความรู้
ถ้าต้องการซ่อน Toolbar และ Palette ให้กดปุ่ม TAB
ถ้าต้องการซ่อนเฉพาะ Palette ให้กด Shift+TAB
4. การย่อ-ขยายภาพโดยใช้ Zoom Tool
การย่อ-ขยายภาพจะช่วยให้สามารถตกแต่งภาพได้ง่ายและมีความละเอียดมากขึ้นสามารถขนานภาพและตกแต่งได้จนถึงส่วนที่ย่อยที่สุดของภาพ คือ pixel ต่อ pixel
Zoom Tool เป็นเครื่องมือหนึ่งที่อยู่ใน Toolbox มีรูปร่างเหมือนแว่นขยายใช้ในการย่อหรือขยายภาพมีขั้นตอนการทำงานดังนี้ คือ
Click Mouse ที่ไอคอน ใน Toolbar
เมื่อเลื่อน Mouse เข้าไปบริเวณรูปภาพ ตัวชี้ Mouse จะเปลี่ยนไปเป็นรูปในขั้นตอนมีวิธีใช้ที่แตกต่างกันดังนี้
เมื่อต้องการขยายภาพให้เลือกบริเวณที่ต้องการ ขยายแล้ว Click เมาส์ ภาพบริเวณนั้นจะขยายออกและเมื่อClick เมาส์ไปเรื่อยๆ ภาพก็จะขยายขึ้นเรื่อยๆ
เมื่อต้องการย่อภาพให้กดปุ่ม Alt ค้างไว้ หลังจากนั้นเลือกบริเวณที่ต้องการย่อภาพและ Click เมาส์จะสังเกตเห็นว่าภาพบริเวณนั้นจะถูกย่อลง
5. กำหนดมุมมองของภาพโดยการใช้ Hand Tool
ในกรณีที่ภาพมีขนาดใหญ่ ไม่สามารถมองเห็นทุกส่วนของภาพได้ในหน้าจอเดียว สามารถเลื่อนภาพเพื่อดูภาพในทุกจุดได้ ภายในหน้าจอเดียวได้โดยไม่ต้องอาศัย Scrollbar อีกต่อไป ด้วยวิธีง่ายๆ คือการใช้ Hand Tool ที่อยู่ใน Toolbox
6 . Navigator Palette ศูนย์รวมการกำหนดมุมมอง
จากหัวข้อ ในรูปแบบต่างๆ ที่ Navigator Palette ดังต่อไปนี้ คือ
สามารถเรียกดู Navigator Palette ได้โดยการ Click เมาส์ที่
Window>Show Navigator
สังเกตว่า ภาพที่ใช้งานอยู่ ปรากฎใน Navigator Palette
กรอบสี่เหลี่ยมสีแดงสดพื้นที่ภาพที่แสดงบนหน้าต่างภาพ
เมื่อเลื่อน Mouse ไปที่กรอบสีแดง จะปรากฎ Click เมาส์และลากเส้นกรอบสีแดงไปยังพื้นที่ที่ต้องการดูใช้งานเหมือนคำสั่ง Hand Tool
บอกเปอร์เซ็นต์การขยายของภาพในขณะนั้น สามารถพิมพ์ตัวเลขกำหนดเปอร์เซ็นต์การขยายภาพเองได้ สังเกตว่า กรอบสีแดงจะเล็กลงเมื่ออัตราการขยายสูงขึ้นและภาพที่แสดงในหน้าต่างภาพก็จะมีขนาดใหญ่ขึ้นด้วย
Click เมาส์เพื่อปรับเปอร์เซ็นต์การย่อเป็น Step
แถบเลื่อนเพิ่ม-ลดอัตราการขยายของภาพ ทางขวาเพิ่ม ทางซ้ายลด
Click เมาส์เพื่อปรับเปอร์เซ็นต์การขยายเป็น Step
7. การสร้าง Selection
การสร้าง Selection คือ การเลือกพื้นที่เพื่อการแก้ไขและตกแต่งภาพ
การสร้าง Selection ในโปรแกรม Photoshop หมายความว่า หากต้องการปรับแต่งภาพต้องมีการเลือกพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งก่อน เนื่องจากภาพบางภาพต้องการปรับแต่งเฉพาะบางจุด
7.1 การ Selection โดยใช้ Marquee Tool
Marquee Tool เป็นเครื่องมือที่ทำให้การ Selection แบบมีรูปแบบตายตัว เช่น การเลือกพื้นที่เป็นรูปสี่เหลี่ยม วงกลม ด้วยวิธีง่ายๆ เพียงลาก Mouse ผ่านพื้นที่ภาพเท่านั้น Marquee Tool แบ่งตามลักษณะการใช้งานเป็น 4 รูปแบบ คือ
เครื่องมือในส่วนของ Marquee Tool
7.2 วิธีการใช้งาน Marquee Tool
เลือกรูปแบบ Selection โดยClick เมาส์ค้างไว้จะปรากฎรูปทรงต่างๆ ที่ซ่อนไว้ เลื่อนเมาส์ไปยังรูปแบบที่ต้องการและปล่อยเมาส์
เลื่อนเมาส์ไปยังบริเวณพื้นงาน ลูกศรที่เมาส์จะเปลี่ยนเป็นเครื่องหมาย + หลังากนั้นก็ Click และลากเมาส์ค้างในพื้นที่ที่ต้องการ
เมื่อได้พื้นที่ที่ต้องการแล้วให้ปล่อยเมาส์ก็จะเกิดเส้นประในบริเวณที่ถูกเลือก
7.3 Marquee Options
สามารถกำหนดคุณลักษณะต่างๆ ของ Marquee Tool ได้โดยClick เมาส์และเลือกที่ Option Bar ซึ่งจะแสดงดังรูป
Option Bar ขณะทำงานที่ Marquee Tool
7.4 การทำงานของ Marquee Options
ค่า Feather เป็นการกำหนดความฟุ้งเบลอของขอบที่เลือกซึ่งมีค่าตั้งแต่ 1 ถึง 255 เป็นการสร้างเส้นขอบ Selection ให้มีความฟุ้งเบลอและลดความลดเอียดของขอบที่ Selection ซึ่งจะเห็นการเปลี่ยนแปลงที่ชัดเจน เมื่อมีการตัด การก๊อปปี้ การเคลื่อนย้ายพื้นที่ที่เลือกนั้น หากค่าของ Feather มาก ความฟุ้งเบลอจะมากตามด้วย
7.5 Style ของ Marquee Options แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ
Normal เลือกอิสระ ขนาดของพื้นที่ที่เลือกจะเปลี่ยนแปลงไปตามตำแหน่งของเมาส์ที่เลื่อนไป
Constrained Aspect Ration เลือกแบบกำหนดค่ายืดหยุ่นตามอัตราส่วนความกว้าง ความสูงที่ได้กำหนดไว้ เช่น กำหนดให้ Width(ค่าความกว้าง) = 1 และ Height(ความสูง) =1 หมายถึงเมื่อลากเมาส์พื้นที่เลือกได้จะถูกบังคับให้เป็นอัตราส่วน 1:1
Fixed Size เลือกโดยกำหนดพื้นที่เลือกทั้งกว้างและความสูงอย่างเจาะจงแน่นอน
7.6 การเพิ่ม ตัด ลดและเคลื่อนย้ายพื้นที่ Selection
ในกรณีที่เลือกพื้นที่ภาพ กด ตัวชี้ Mouse จะเปลี่ยนเป็นรูปเครื่องหมาย + หลังจากนั้นให้ลากเมาส์ครอบพื้นที่ที้ต้องการ
ในกรณีที่เพิ่มพื้นที่เพิ่มเลือกกด Shift ค้างไว้ ลูกศรที่เมาส์จะเปลี่ยนเป็นรูปเครื่องหมาย + หลังจากนั้นให้Click เมาส์ค้างไว้และลากเมาส์ไปยังบริเวณที่ต้องการเพิ่มพื้นที่
ในกรณีต้องการลดพื้นที่ให้กด Alt ค้างไว้ ลูกศรที่เมาส์จะเปลี่ยนเป็นรูป + หลังจากนั้น Click เมาส์ค้างไว้และลากเมาส์ไปยังบริเวณที่ต้องการลดพื้นที่
8. การใช้ Selection โดยใช้ Lasso Tool
เครื่องมือในส่วนของ Lasso Tool
Lasso Tool เป็นการ Selection โดยการเลือกพื้นที่การทำงานแบบอิสระโดยการทำงาน คือ ลาก Selection ตามพื้นที่ที่ต้องการและจุดสิ้นสุดนั้นต้องบรรจบกลับที่จุดเริ่มต้นรูปแบบเครื่องมือ Lasso Tool
Lasso Tool เป็นการเลือกแบบอิสระ ผู้ใช้งานสามารถบังคับได้ด้วยมือผ่านการลากเมาส์ การใช้งานให้ Click เลือกเครื่องมือ Lasso Tool และใช้วิธีลากเมาส์ค้างในพื้นที่ที่ต้องการเลือกและจุดสุดท้ายให้บรรจบที่จุดแรก
Lasso Option
Anti-alliased เป็นช่วยให้พื้นที่เลือกเรียบ ไม่ขรุขระ ทำให้งานดูเรียบร้อยมากขึ้น
Option Bar ขณะทำงานที่ Lasso Tool
9. Polygonal Lasso Tool เป็นการเลือกแบบสร้างขอบเป็นเส้นตรงหลายเหลี่ยม
เป็นเลือกพื้นที่แบบรูปหลายเหลี่ยม โดยทำการ Click ที่จุดเริ่มต้น จากนั้นลากไปยังตำแหน่งที่ต้องการ จากนั้นแล้ว Click ตำแหน่งถัดไปซึ่งจะเกิดพื้นที่ที่เลือกเป็นแบบหลายเหลี่ยมจนกลับมายังจุดเริ่มต้นและ Click ที่ตำแหน่งเดิมจะเกิดเส้นประ Selection เกิดขึ้น
10. Magnetic Lasso Tool เป็นเครื่องมือที่ทำงานเกาะขอบพื้นที่สีที่ใกล้เคียง
การใช้งาน เลือกเครื่องมือ จากนั้น Click เมาส์ที่จุดเริ่มต้นจากเมาส์ลากไปยังบริเวณที่ต้องการเครื่องมือจะทำงานเลือกพื้นที่ในขอบเองโดยอัตโนมัติ การสิ้นสุดการทำงานโดยกลับไป Click จุดที่บรรจบกับจุดเริ่มต้นอีกครั้ง
11. Magic Wand Tool
Magic Wand Tool เป็นการเลือกพื้นที่อิงกับค่าสีของรูปเป็นสำคัญ โดยโปรแกรมจะเลือกเฉพาะค่าสีที่ใกล้เคียงที่ Click ดังนั้นวิธีนี้เหมาะสมกับการเลือกพื้นที่ที่ไม่มีสีแตกต่างกันหรือเป็นสีเดียวจะดีมาก
การใช้งาน
1. เลือกเครื่องมือ Magic Wand Tool
2. กำหนดค่าต่างบน Option Bar ดังนี้
Option Bar ขณะทำงานที่ Magic Wand Tool
Tolerance : กำหนดค่าสี
Anti-aliased : ทำให้ขอบเรียบไม่มีรอบขรุขระ
Contiguous : เป็นการเลือกบริเวณสีที่ใกล้เคียงกันเฉพาะกลุ่ม Pixel ที่ได้ Click เมาส์เท่านั้น
3. Click เมาส์บนพื้นที่ที่เลือกจะเกิดเส้นประบนพื้นที่ที่เลือก
12. การเคลื่อนย้ายภาพ
Move Tool
เป็นเครื่องมือในการเคลื่อนย้ายวัตถุ ภาพหรือพื้นที่ที่ต้องการให้เคลื่อนไปยังอีกที่หนึ่ง
วิธีการ
1. เลือกพื้นที่ (Selection) ที่ต้องการหรือรูปภาพที่ต้องการ
2. Click เมาส์เลือกอุปกรณ์
3. Click เมาส์ค้างและลากพื้นที่ที่เลือกหรือภาพที่ต้องการไปวางยังตำแหน่งที่ต้องการและปล่อยเมาส์
13. การเลือกสี
สามารถทำได้หลายวิธี
ใช้ที่ Color Palette โดยการเลือกสีที่ต้องการ จากนั้น สีจะเกิดบนช่องสี Forground
ใช้ Swatches Palette
ใช้ Eyedropper Tool เป็นเครื่องมือดูดสีที่เราต้องการ
14. การวาดและะบายสีภาพ
อุปกรณ์ Brush & Pencil Tool Brush Tool เป็นการระบายสี ซึ่งบางทีอาจต้องมีการตกแต่งภาพหรือใส่สี ซึ่งสามารถทำการเลือกรูปแบบของพู่กันและขนาดของพู่กันได้
วิธีการ
เลือกสีที่ต้องการ จากนั้น Click ที่แถบเครื่องมือ Paint Brush Tool
ลากเมาส์ค้างเพื่อระบายสีตามต้องการ (หากต้องการลากเป็นเส้นตรงให้กดปุ่ม Shift ค้างไว้)
Option ของ Paintbrush
Option Bar ขณะทำงานที่ Brush Tool
Mode : เป็นการกำหนดโหมดพิเศษของสี
Opacity : เป็นการกำหนดค่าโปร่งแสงของสี
Wet Edges : กำหนดเส้นขอบ
Fade : กำหนดค่าความเลือนของเส้น
Airbrush Tool : เป็นเครื่องมือที่ใช้พ่นสีจะมีความฟุ้งกระจายมากกว่าระบายด้วย Paint Brush
Pencil Tool
การทำงานเหมือน Paint Brush แต่เส้นที่เกิดขึ้นมีความคมชัดและมีขอบที่ชัดเจน
Option Bar ขณะทำงานที่ Pencil Tool
Option Bar ขณะทำงานที่ Pencil Tool
15. Eraser Tool
เป็นเครื่องมือที่ใช้สำหรับการลบเหมือนชื่อ ซึ่งประกอบด้วยคำสั่งย่อยๆ อีกคือ
อุปกรณ์ Eraser Tool
การใช้งาน
1. Click ที่อุปกรณ์ จากนั้นไปที่ Option bar เลือกขนาดและรูปแบบของยางลบ
2. Click หรือ Drag Mouse ไปยังจุดหรือพื้นที่ที่ต้องการลบ
Eraser Option
Brush เป็นการเลือกกำหนดขนาดหรือลักษณะของยางลบ
Opacity เป็นการกำหนดความโปร่งแสงของภาพ
Eraser to History เป็นการเรียกส่วนที่ลบคืนมา
Brush Dynamics เป็นการให้ค่าสีใน Background ระบายลงไปแทน
Background Eraser Tool
เป็นการลบค่าสี Pixel บน Layer ที่ Drag Mouse ผ่านให้มีลักษณะโปร่งแสง
การใช้งาน : เหมือน Eraser Tool
16. History Brush Tool
เป็นการลบเฉพาะส่วนที่ทำเพิ่มเติมลงในภาพ แต่จะไม่มีผลต่อภาพเดิม (Background) เป็นอันขาด
การใช้งาน : Click เลือกอุปกรณ์จากนั้น Drag Mouse ไปยังบริเวณที่ต้องการลบเครื่องมือเกี่ยวกับการเทสี
17. อุปกรณ์ที่เกี่ยวกับการเทสี
Gradientและ Paint Bucker Too) Paint Bucket Tool
เป็นการเทสีลงในภาพหรือพื้นที่ที่เลือก
การใช้งาน
Selection พื้นที่ที่ต้องการ
Click เลือกอุปกรณ์จากนั้น เลือกสีที่ต้องการจะเติม
Click บนพื้นที่ที่เลือก (Alt + Delete เป็นเมนูลัด)
Paint Bucket Tool Option bar
Option Bar ขณะทำงานที่ Paint Bucket Tool
คำสั่ง Fill เป็นการเลือกสีที่จะเติมสีแบบใด
Foreground สีของ Foreground
Pattern เติมแบบภาพลวดลาย
Mode กำหนดสีแบบพิเศษ
Opacity กำหนดค่าโปร่งแสง
Tolerance จำกัดขอบเขตในการระบาย
Anti-aliased กำหนดให้ขอบของสีที่เทลงไปเรียบ
Gradient Tool
เป็นการไล่โทนสีจากสีหนึ่งไปอีกสี่หนึ่ง โดยมีให้เลือกอยู่ 5 รูปแบบ
การใช้งาน
เลือกพื้นที่ที่ต้องการ
เลือกรูปแบบสีและการไล่สีที่ต้องการ
เลือกเครื่องมือ Gradient จากนั้นเลือกรูปที่ต้องการบน Option Bars
วิธีการเทสีให้ลากเมาส์ค้างตามตำแหน่งที่ต้องการในพื้นที่ที่เลือกไว้แล้ว
รูปแบบของการเทสีในลักษณะ Gradient Gradient Option Bar Option Bar ขณะทำงานที่ Gradient Tool
Mode กำหนดค่าสีพิเศษ
Opacity กำหนดค่าโปรงแสง
Reverse การไล่โทนสีกลับด้าน
Dither ความกลมกลืนของแถบสี
Transparency เป็นการปรับการโปร่งแสงและให้แสดงผลต่อหน้าจอ
18. การตกแต่งภาพ
ในการตกแต่งภาพเราสามารถใช้อุปกรณ์หลายประเภทในโปรแกรม Photoshop
Blur Tool Sharpen Tool & Smudge Tool
Blur Tool
เป็นเครื่องมือทำทำให้ส่วนที่ Click เบลอ
วิธีการ
เลือกอุปกรณ์ จากนั้น Click หรือ ลากเมาส์ไปยังบริเวณที่ต้องการทำงาน
กำหนดค่า Option Bar ซึ่งมีค่าที่น่าสนใจ ดังนี้
Option Bar ขณะทำงานที่ Blur Tool
Sharpen เลือกรูปแบบของอุปกรณ์ ขนาด และความฟุ้ง เลือกขนาดแปรง รูปแบบแปรง โดยการกดปุ่ม ลูกศร สามเหลี่ยม
Strength : เป็นการกำหนดค่าน้ำหนักและความเข้มของอุปกรณ์
Smudge Tool
เครื่องมือที่ช่วยเน้นความเข้มของภาพและเพิ่มความคมชัดโดยลดจำนวนสีในภาพลง
วิธีการ เหมือน Blur Tool
Option Bar ขณะทำงานที่ Sharpen Tool
19. เครื่องมือการปรับสีโทนของภาพ
อุปกรณ์ในส่วนของการปรับโทนสีภาพ (Dodge Burn & Sponge Tool)
Dodge Tool เป็นเครื่องมือที่ทำให้ภาพสว่างขึ้น
การใช้งาน : Option Bar ดังนี้
Brush เลือกขนาดแปรง รูปแบบแปรง โดยการกดปุ่ม ลูกศร สามเหลี่ยม
Range เป็นการเลือกรูปแบบการทำงาน
Shadows เป็นการปรับแต่งสีแบบเงา
Midtones เป็นการปรับแต่งสีให้ดูเป็นธรรมชาติ
Highlights เป็นการปรับแต่งสีแบบฟุ้งๆ หรือเน้นพื้นที่ที่จะทำงาน Hightlights
Option Bar ขณะทำงานที่ Dodge Tool Burn Tool
ทำให้สีของภาพดูเข้มขึ้น
การใช้งาน : เหมือน Dodge Tool Option Bar ขณะทำงานที่ Burn Tool Sponge Tool
เป็นการปรับค่า Saturate ของสี ทำให้สีมีความเข้มและจางในระดับต่างกัน
การใช้งาน : เหมือนกับ Blur Tool
Option Bar ขณะทำงานที่ Sponge Tool
20. การทำสำเนาภาพ
อุปกรณ์ที่ใช้ในการทำสำเนาภาพ (Clone Stamp & Pattern Stamp Tool)
Clone Stamp Tool
เป็นเครื่องมือในการ Copy วัตถุในภาพให้มีจำนวนเพิ่มขึ้น
วิธีการ
เลือกรูปภาพที่ต้องการ
ภาพตัวอย่างที่ใช้ในอุปกรณ์ Clone Stamp Tool
Click เลือกอุปกรณ์
นำ Mouse ไปวางบนภาพที่ต้องการ Copy จากนั้นกดปุ่ม Alt ค้างไว้ แล้ว Click Mouse บนภาพซึ่งถือเป็นจุดเริ่มต้น
นำ Mouse ไปวางยังตำแหน่งบนพื้นที่ว่างที่จะทำการ Paste โดยการ Click เมาส์ค้างแล้วลากจะปรากฎรูปภาพที่ Copy ขึ้นมา Pattern Clone Stamp
วิธีการ
ใช้เครื่องมือ Selection เลือกบริเวณพื้นที่ที่ต้องการหรือใช้วิธีเลือกไฟล์ที่ต้องการทำ Pattern
เลือกคำสั่ง Edit >Define Pattern
จะเกิดหน้าต่าง Pattern name ให้พิมพ์ชื่อ แล้วกดปุ่ม OK
จากนั้นกลับไปยังพื้นที่หน้างานจากนั้นเลือกภาพ Pattern ที่ Option Bar หรือใช้คำสั่ง Edi t> Fill
Option Bar ขณะทำงานที่ Pattern Stamp Tool Healing Brush Tool
อุปกรณ์ Healing Brush & Patch Tool
เป็นเครื่องมือเหมือน Clone Stamp แต่ที่ช่วยปรับค่าสีให้ Background หรือ Layer มีความกลมกลืนกัน
วิธีการ : เหมือนกับ Clone Stamp Tool
Option Bar ขณะทำงานที่ Healing Brush Tool
21. การสร้างตัวอักษรลงในภาพ

อุปกรณ์ที่เกี่ยวกับการสร้างตัวอักษร(Type Tool)
การสร้างตัวอักษรใน Photoshop มี 2 แบบ คือ แบบตัวอักษรและแบบ Selection หรือ แบบโปร่งใสซึ่งสามารถพิมพ์อักษรได้ทั้งแนวนอนและแนวตั้ง
การสร้างข้อความโดยใช้เครื่องมือ Type Tool
วิธีการ
Click Tool Box
Click บน Option bar เพื่อพิมพ์ตัวอักษร (ถ้าเลือก...จะเป็น Selection)
Click บน Option bar เพื่อพิมพ์ตัวอักษรเป็นแนวนอน (ถ้าเลือก .....จะเป็นแนวตั้ง)
Click Mouse ลงบนพื้นที่ที่ต้องการพิมพ์ จากนั้นปรับค่าที่ Option Bar
กำหนดรูปแบบตัวอักษร ขนาดและสีของตัวอักษร เมื่อพิมพ์ก็ความเรียบร้อย
การแก้ไขข้อความ
ทำ Hightlight หรือด๊ากข้อความ
เลือกคำสั่ง Type Tool บน Toolbar จากนั้นก็แก้ไขบน Option Bar หรือ Click เลือกตรงปุ่ม Palette จะปรากฎ Character Palette ออกมา
พิมพ์ข้อความที่ต้องการแก้ไข เมื่อพิมพ์ก็ความเรียบร้อย กดปุ่ม Enter
22. การสร้างหน้างานเพื่อสร้างแวบไซต์ วิธีการ Menu File > New (Ctrl+N) - กำหนดค่าหน้างาน Name ชื่องาน > Preset : Custom > Width : 770 Pixels > Height : 420 Pixels (อาจกว้างกว่านี้ขึ้นอยู่กับงานResolution : 72 Pixels/inch > Color Mode : RGB > Background Contect : White >Toolbox > Menu Bar Barba Bar > Option Bar > Palette Well > Active Image Area
1. การเข้าสู่โปรแกรม Photoshop
Click Desktop
หรือ Click ปุ่ม Start>Program>Adobe Photoshop พื้นที่ทำงาน Memu Bar แถบกลุ่มคำสั่งสำหรับการทำงานทั้งหมดใน Photoshop Option Bar แถบสำหรับแสดงส่วนตัวเลือกหรือส่วนปรับแต่งเสริมการทำงานของเครื่องมือ (Tool) ที่เราเลือกใช้งานจากใน Tool Box Toolbox เป็นกล่องเก็บเครื่องมือต่างสำหรับใช้ทำงานบนพื้นที่งาน Active Image Area พื้นที่งานซึ่งสามารถเปิดทำงานพร้อมกันได้หลายๆ กรอบแต่สามารถเลือกทำงานได้ทีละกรอบเท่านั้น Palette Well ส่วนสำหรับจัดเก็บหน้าต่าง Palette ที่เราอาจจำเป็นต้องงานเป็นระยะๆ (แต่ไม่ตลอดเวลาเราสามารถเลือก Palette บางชิ้นมาใส่ไว้ใน Palette Well นี้ได้ Palette เป็นหน้าต่างย่อย สำหรับอำนวยความสะดวกในการทำงานและเป็นส่วนควบคุมส่วนย่อยในการทำงานด้วย เช่น กำหนดค่าสี การทำงานLayer บันทึกแก้ไขการทำงาน History
2. ก่อนจะเริ่มทำงานจะต้องกำหนดค่าให้กับมาเป็นค่า Default
Menu Window - Reset Palette Location - ใช้ Mouse Click ขวาที่ Option bar และเลือก Reset all tools การเปิดหน้างานใหม่ Menu File
New หรือ กด Ctrl + N
เกิดหน้าต่าง New
กำหนดค่างานสำหรับสร้างงานเวบไซต์
Name : ใส่ชื่อ
Image size : ขนาดของ File ซึ่งเปลี่ยนแปลงตามขนาด และ Resolution
Width : ความกว้าง เช่น Pixcel เซนติเมตร นิ้ว
Height : ความสูง เช่น Pixcel เซนติเมตร นิ้ว
Resolution : ค่าความละเอียด (ซึ่งความละเอียดบนหน้าจอ = 72)
Mode : ใช้ Mode RGB Color สำหรับงานออกแบบเวบไซต์
เกร็ดความรู้
ถ้าต้องการซ่อน Toolbar และ Palette ให้กดปุ่ม TAB
ถ้าต้องการซ่อนเฉพาะ Palette ให้กด Shift+TAB
4. การย่อ-ขยายภาพโดยใช้ Zoom Tool
การย่อ-ขยายภาพจะช่วยให้สามารถตกแต่งภาพได้ง่ายและมีความละเอียดมากขึ้นสามารถขนานภาพและตกแต่งได้จนถึงส่วนที่ย่อยที่สุดของภาพ คือ pixel ต่อ pixel
Zoom Tool เป็นเครื่องมือหนึ่งที่อยู่ใน Toolbox มีรูปร่างเหมือนแว่นขยายใช้ในการย่อหรือขยายภาพมีขั้นตอนการทำงานดังนี้ คือ
Click Mouse ที่ไอคอน ใน Toolbar
เมื่อเลื่อน Mouse เข้าไปบริเวณรูปภาพ ตัวชี้ Mouse จะเปลี่ยนไปเป็นรูปในขั้นตอนมีวิธีใช้ที่แตกต่างกันดังนี้
เมื่อต้องการขยายภาพให้เลือกบริเวณที่ต้องการ ขยายแล้ว Click เมาส์ ภาพบริเวณนั้นจะขยายออกและเมื่อClick เมาส์ไปเรื่อยๆ ภาพก็จะขยายขึ้นเรื่อยๆ
เมื่อต้องการย่อภาพให้กดปุ่ม Alt ค้างไว้ หลังจากนั้นเลือกบริเวณที่ต้องการย่อภาพและ Click เมาส์จะสังเกตเห็นว่าภาพบริเวณนั้นจะถูกย่อลง
5. กำหนดมุมมองของภาพโดยการใช้ Hand Tool
ในกรณีที่ภาพมีขนาดใหญ่ ไม่สามารถมองเห็นทุกส่วนของภาพได้ในหน้าจอเดียว สามารถเลื่อนภาพเพื่อดูภาพในทุกจุดได้ ภายในหน้าจอเดียวได้โดยไม่ต้องอาศัย Scrollbar อีกต่อไป ด้วยวิธีง่ายๆ คือการใช้ Hand Tool ที่อยู่ใน Toolbox
6 . Navigator Palette ศูนย์รวมการกำหนดมุมมอง
จากหัวข้อ ในรูปแบบต่างๆ ที่ Navigator Palette ดังต่อไปนี้ คือ
สามารถเรียกดู Navigator Palette ได้โดยการ Click เมาส์ที่
Window>Show Navigator
สังเกตว่า ภาพที่ใช้งานอยู่ ปรากฎใน Navigator Palette
กรอบสี่เหลี่ยมสีแดงสดพื้นที่ภาพที่แสดงบนหน้าต่างภาพ
เมื่อเลื่อน Mouse ไปที่กรอบสีแดง จะปรากฎ Click เมาส์และลากเส้นกรอบสีแดงไปยังพื้นที่ที่ต้องการดูใช้งานเหมือนคำสั่ง Hand Tool
บอกเปอร์เซ็นต์การขยายของภาพในขณะนั้น สามารถพิมพ์ตัวเลขกำหนดเปอร์เซ็นต์การขยายภาพเองได้ สังเกตว่า กรอบสีแดงจะเล็กลงเมื่ออัตราการขยายสูงขึ้นและภาพที่แสดงในหน้าต่างภาพก็จะมีขนาดใหญ่ขึ้นด้วย
Click เมาส์เพื่อปรับเปอร์เซ็นต์การย่อเป็น Step
แถบเลื่อนเพิ่ม-ลดอัตราการขยายของภาพ ทางขวาเพิ่ม ทางซ้ายลด
Click เมาส์เพื่อปรับเปอร์เซ็นต์การขยายเป็น Step
7. การสร้าง Selection
การสร้าง Selection คือ การเลือกพื้นที่เพื่อการแก้ไขและตกแต่งภาพ
การสร้าง Selection ในโปรแกรม Photoshop หมายความว่า หากต้องการปรับแต่งภาพต้องมีการเลือกพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งก่อน เนื่องจากภาพบางภาพต้องการปรับแต่งเฉพาะบางจุด
7.1 การ Selection โดยใช้ Marquee Tool
Marquee Tool เป็นเครื่องมือที่ทำให้การ Selection แบบมีรูปแบบตายตัว เช่น การเลือกพื้นที่เป็นรูปสี่เหลี่ยม วงกลม ด้วยวิธีง่ายๆ เพียงลาก Mouse ผ่านพื้นที่ภาพเท่านั้น Marquee Tool แบ่งตามลักษณะการใช้งานเป็น 4 รูปแบบ คือ
เครื่องมือในส่วนของ Marquee Tool
7.2 วิธีการใช้งาน Marquee Tool
เลือกรูปแบบ Selection โดยClick เมาส์ค้างไว้จะปรากฎรูปทรงต่างๆ ที่ซ่อนไว้ เลื่อนเมาส์ไปยังรูปแบบที่ต้องการและปล่อยเมาส์
เลื่อนเมาส์ไปยังบริเวณพื้นงาน ลูกศรที่เมาส์จะเปลี่ยนเป็นเครื่องหมาย + หลังากนั้นก็ Click และลากเมาส์ค้างในพื้นที่ที่ต้องการ
เมื่อได้พื้นที่ที่ต้องการแล้วให้ปล่อยเมาส์ก็จะเกิดเส้นประในบริเวณที่ถูกเลือก
7.3 Marquee Options
สามารถกำหนดคุณลักษณะต่างๆ ของ Marquee Tool ได้โดยClick เมาส์และเลือกที่ Option Bar ซึ่งจะแสดงดังรูป
Option Bar ขณะทำงานที่ Marquee Tool
7.4 การทำงานของ Marquee Options
ค่า Feather เป็นการกำหนดความฟุ้งเบลอของขอบที่เลือกซึ่งมีค่าตั้งแต่ 1 ถึง 255 เป็นการสร้างเส้นขอบ Selection ให้มีความฟุ้งเบลอและลดความลดเอียดของขอบที่ Selection ซึ่งจะเห็นการเปลี่ยนแปลงที่ชัดเจน เมื่อมีการตัด การก๊อปปี้ การเคลื่อนย้ายพื้นที่ที่เลือกนั้น หากค่าของ Feather มาก ความฟุ้งเบลอจะมากตามด้วย
7.5 Style ของ Marquee Options แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ
Normal เลือกอิสระ ขนาดของพื้นที่ที่เลือกจะเปลี่ยนแปลงไปตามตำแหน่งของเมาส์ที่เลื่อนไป
Constrained Aspect Ration เลือกแบบกำหนดค่ายืดหยุ่นตามอัตราส่วนความกว้าง ความสูงที่ได้กำหนดไว้ เช่น กำหนดให้ Width(ค่าความกว้าง) = 1 และ Height(ความสูง) =1 หมายถึงเมื่อลากเมาส์พื้นที่เลือกได้จะถูกบังคับให้เป็นอัตราส่วน 1:1
Fixed Size เลือกโดยกำหนดพื้นที่เลือกทั้งกว้างและความสูงอย่างเจาะจงแน่นอน
7.6 การเพิ่ม ตัด ลดและเคลื่อนย้ายพื้นที่ Selection
ในกรณีที่เลือกพื้นที่ภาพ กด ตัวชี้ Mouse จะเปลี่ยนเป็นรูปเครื่องหมาย + หลังจากนั้นให้ลากเมาส์ครอบพื้นที่ที้ต้องการ
ในกรณีที่เพิ่มพื้นที่เพิ่มเลือกกด Shift ค้างไว้ ลูกศรที่เมาส์จะเปลี่ยนเป็นรูปเครื่องหมาย + หลังจากนั้นให้Click เมาส์ค้างไว้และลากเมาส์ไปยังบริเวณที่ต้องการเพิ่มพื้นที่
ในกรณีต้องการลดพื้นที่ให้กด Alt ค้างไว้ ลูกศรที่เมาส์จะเปลี่ยนเป็นรูป + หลังจากนั้น Click เมาส์ค้างไว้และลากเมาส์ไปยังบริเวณที่ต้องการลดพื้นที่
8. การใช้ Selection โดยใช้ Lasso Tool
เครื่องมือในส่วนของ Lasso Tool
Lasso Tool เป็นการ Selection โดยการเลือกพื้นที่การทำงานแบบอิสระโดยการทำงาน คือ ลาก Selection ตามพื้นที่ที่ต้องการและจุดสิ้นสุดนั้นต้องบรรจบกลับที่จุดเริ่มต้นรูปแบบเครื่องมือ Lasso Tool
Lasso Tool เป็นการเลือกแบบอิสระ ผู้ใช้งานสามารถบังคับได้ด้วยมือผ่านการลากเมาส์ การใช้งานให้ Click เลือกเครื่องมือ Lasso Tool และใช้วิธีลากเมาส์ค้างในพื้นที่ที่ต้องการเลือกและจุดสุดท้ายให้บรรจบที่จุดแรก
Lasso Option
Anti-alliased เป็นช่วยให้พื้นที่เลือกเรียบ ไม่ขรุขระ ทำให้งานดูเรียบร้อยมากขึ้น
Option Bar ขณะทำงานที่ Lasso Tool
9. Polygonal Lasso Tool เป็นการเลือกแบบสร้างขอบเป็นเส้นตรงหลายเหลี่ยม
เป็นเลือกพื้นที่แบบรูปหลายเหลี่ยม โดยทำการ Click ที่จุดเริ่มต้น จากนั้นลากไปยังตำแหน่งที่ต้องการ จากนั้นแล้ว Click ตำแหน่งถัดไปซึ่งจะเกิดพื้นที่ที่เลือกเป็นแบบหลายเหลี่ยมจนกลับมายังจุดเริ่มต้นและ Click ที่ตำแหน่งเดิมจะเกิดเส้นประ Selection เกิดขึ้น
10. Magnetic Lasso Tool เป็นเครื่องมือที่ทำงานเกาะขอบพื้นที่สีที่ใกล้เคียง
การใช้งาน เลือกเครื่องมือ จากนั้น Click เมาส์ที่จุดเริ่มต้นจากเมาส์ลากไปยังบริเวณที่ต้องการเครื่องมือจะทำงานเลือกพื้นที่ในขอบเองโดยอัตโนมัติ การสิ้นสุดการทำงานโดยกลับไป Click จุดที่บรรจบกับจุดเริ่มต้นอีกครั้ง
11. Magic Wand Tool
Magic Wand Tool เป็นการเลือกพื้นที่อิงกับค่าสีของรูปเป็นสำคัญ โดยโปรแกรมจะเลือกเฉพาะค่าสีที่ใกล้เคียงที่ Click ดังนั้นวิธีนี้เหมาะสมกับการเลือกพื้นที่ที่ไม่มีสีแตกต่างกันหรือเป็นสีเดียวจะดีมาก
การใช้งาน
1. เลือกเครื่องมือ Magic Wand Tool
2. กำหนดค่าต่างบน Option Bar ดังนี้
Option Bar ขณะทำงานที่ Magic Wand Tool
Tolerance : กำหนดค่าสี
Anti-aliased : ทำให้ขอบเรียบไม่มีรอบขรุขระ
Contiguous : เป็นการเลือกบริเวณสีที่ใกล้เคียงกันเฉพาะกลุ่ม Pixel ที่ได้ Click เมาส์เท่านั้น
3. Click เมาส์บนพื้นที่ที่เลือกจะเกิดเส้นประบนพื้นที่ที่เลือก
12. การเคลื่อนย้ายภาพ
Move Tool
เป็นเครื่องมือในการเคลื่อนย้ายวัตถุ ภาพหรือพื้นที่ที่ต้องการให้เคลื่อนไปยังอีกที่หนึ่ง
วิธีการ
1. เลือกพื้นที่ (Selection) ที่ต้องการหรือรูปภาพที่ต้องการ
2. Click เมาส์เลือกอุปกรณ์
3. Click เมาส์ค้างและลากพื้นที่ที่เลือกหรือภาพที่ต้องการไปวางยังตำแหน่งที่ต้องการและปล่อยเมาส์
13. การเลือกสี
สามารถทำได้หลายวิธี
ใช้ที่ Color Palette โดยการเลือกสีที่ต้องการ จากนั้น สีจะเกิดบนช่องสี Forground
ใช้ Swatches Palette
ใช้ Eyedropper Tool เป็นเครื่องมือดูดสีที่เราต้องการ
14. การวาดและะบายสีภาพ
อุปกรณ์ Brush & Pencil Tool Brush Tool เป็นการระบายสี ซึ่งบางทีอาจต้องมีการตกแต่งภาพหรือใส่สี ซึ่งสามารถทำการเลือกรูปแบบของพู่กันและขนาดของพู่กันได้
วิธีการ
เลือกสีที่ต้องการ จากนั้น Click ที่แถบเครื่องมือ Paint Brush Tool
ลากเมาส์ค้างเพื่อระบายสีตามต้องการ (หากต้องการลากเป็นเส้นตรงให้กดปุ่ม Shift ค้างไว้)
Option ของ Paintbrush
Option Bar ขณะทำงานที่ Brush Tool
Mode : เป็นการกำหนดโหมดพิเศษของสี
Opacity : เป็นการกำหนดค่าโปร่งแสงของสี
Wet Edges : กำหนดเส้นขอบ
Fade : กำหนดค่าความเลือนของเส้น
Airbrush Tool : เป็นเครื่องมือที่ใช้พ่นสีจะมีความฟุ้งกระจายมากกว่าระบายด้วย Paint Brush
Pencil Tool
การทำงานเหมือน Paint Brush แต่เส้นที่เกิดขึ้นมีความคมชัดและมีขอบที่ชัดเจน
Option Bar ขณะทำงานที่ Pencil Tool
Option Bar ขณะทำงานที่ Pencil Tool
15. Eraser Tool
เป็นเครื่องมือที่ใช้สำหรับการลบเหมือนชื่อ ซึ่งประกอบด้วยคำสั่งย่อยๆ อีกคือ
อุปกรณ์ Eraser Tool
การใช้งาน
1. Click ที่อุปกรณ์ จากนั้นไปที่ Option bar เลือกขนาดและรูปแบบของยางลบ
2. Click หรือ Drag Mouse ไปยังจุดหรือพื้นที่ที่ต้องการลบ
Eraser Option
Brush เป็นการเลือกกำหนดขนาดหรือลักษณะของยางลบ
Opacity เป็นการกำหนดความโปร่งแสงของภาพ
Eraser to History เป็นการเรียกส่วนที่ลบคืนมา
Brush Dynamics เป็นการให้ค่าสีใน Background ระบายลงไปแทน
Background Eraser Tool
เป็นการลบค่าสี Pixel บน Layer ที่ Drag Mouse ผ่านให้มีลักษณะโปร่งแสง
การใช้งาน : เหมือน Eraser Tool
16. History Brush Tool
เป็นการลบเฉพาะส่วนที่ทำเพิ่มเติมลงในภาพ แต่จะไม่มีผลต่อภาพเดิม (Background) เป็นอันขาด
การใช้งาน : Click เลือกอุปกรณ์จากนั้น Drag Mouse ไปยังบริเวณที่ต้องการลบเครื่องมือเกี่ยวกับการเทสี
17. อุปกรณ์ที่เกี่ยวกับการเทสี
Gradientและ Paint Bucker Too) Paint Bucket Tool
เป็นการเทสีลงในภาพหรือพื้นที่ที่เลือก
การใช้งาน
Selection พื้นที่ที่ต้องการ
Click เลือกอุปกรณ์จากนั้น เลือกสีที่ต้องการจะเติม
Click บนพื้นที่ที่เลือก (Alt + Delete เป็นเมนูลัด)
Paint Bucket Tool Option bar
Option Bar ขณะทำงานที่ Paint Bucket Tool
คำสั่ง Fill เป็นการเลือกสีที่จะเติมสีแบบใด
Foreground สีของ Foreground
Pattern เติมแบบภาพลวดลาย
Mode กำหนดสีแบบพิเศษ
Opacity กำหนดค่าโปร่งแสง
Tolerance จำกัดขอบเขตในการระบาย
Anti-aliased กำหนดให้ขอบของสีที่เทลงไปเรียบ
Gradient Tool
เป็นการไล่โทนสีจากสีหนึ่งไปอีกสี่หนึ่ง โดยมีให้เลือกอยู่ 5 รูปแบบ
การใช้งาน
เลือกพื้นที่ที่ต้องการ
เลือกรูปแบบสีและการไล่สีที่ต้องการ
เลือกเครื่องมือ Gradient จากนั้นเลือกรูปที่ต้องการบน Option Bars
วิธีการเทสีให้ลากเมาส์ค้างตามตำแหน่งที่ต้องการในพื้นที่ที่เลือกไว้แล้ว
รูปแบบของการเทสีในลักษณะ Gradient Gradient Option Bar Option Bar ขณะทำงานที่ Gradient Tool
Mode กำหนดค่าสีพิเศษ
Opacity กำหนดค่าโปรงแสง
Reverse การไล่โทนสีกลับด้าน
Dither ความกลมกลืนของแถบสี
Transparency เป็นการปรับการโปร่งแสงและให้แสดงผลต่อหน้าจอ
18. การตกแต่งภาพ
ในการตกแต่งภาพเราสามารถใช้อุปกรณ์หลายประเภทในโปรแกรม Photoshop
Blur Tool Sharpen Tool & Smudge Tool
Blur Tool
เป็นเครื่องมือทำทำให้ส่วนที่ Click เบลอ
วิธีการ
เลือกอุปกรณ์ จากนั้น Click หรือ ลากเมาส์ไปยังบริเวณที่ต้องการทำงาน
กำหนดค่า Option Bar ซึ่งมีค่าที่น่าสนใจ ดังนี้
Option Bar ขณะทำงานที่ Blur Tool
Sharpen เลือกรูปแบบของอุปกรณ์ ขนาด และความฟุ้ง เลือกขนาดแปรง รูปแบบแปรง โดยการกดปุ่ม ลูกศร สามเหลี่ยม
Strength : เป็นการกำหนดค่าน้ำหนักและความเข้มของอุปกรณ์
Smudge Tool
เครื่องมือที่ช่วยเน้นความเข้มของภาพและเพิ่มความคมชัดโดยลดจำนวนสีในภาพลง
วิธีการ เหมือน Blur Tool
Option Bar ขณะทำงานที่ Sharpen Tool
19. เครื่องมือการปรับสีโทนของภาพ
อุปกรณ์ในส่วนของการปรับโทนสีภาพ (Dodge Burn & Sponge Tool)
Dodge Tool เป็นเครื่องมือที่ทำให้ภาพสว่างขึ้น
การใช้งาน : Option Bar ดังนี้
Brush เลือกขนาดแปรง รูปแบบแปรง โดยการกดปุ่ม ลูกศร สามเหลี่ยม
Range เป็นการเลือกรูปแบบการทำงาน
Shadows เป็นการปรับแต่งสีแบบเงา
Midtones เป็นการปรับแต่งสีให้ดูเป็นธรรมชาติ
Highlights เป็นการปรับแต่งสีแบบฟุ้งๆ หรือเน้นพื้นที่ที่จะทำงาน Hightlights
Option Bar ขณะทำงานที่ Dodge Tool Burn Tool
ทำให้สีของภาพดูเข้มขึ้น
การใช้งาน : เหมือน Dodge Tool Option Bar ขณะทำงานที่ Burn Tool Sponge Tool
เป็นการปรับค่า Saturate ของสี ทำให้สีมีความเข้มและจางในระดับต่างกัน
การใช้งาน : เหมือนกับ Blur Tool
Option Bar ขณะทำงานที่ Sponge Tool
20. การทำสำเนาภาพ
อุปกรณ์ที่ใช้ในการทำสำเนาภาพ (Clone Stamp & Pattern Stamp Tool)
Clone Stamp Tool
เป็นเครื่องมือในการ Copy วัตถุในภาพให้มีจำนวนเพิ่มขึ้น
วิธีการ
เลือกรูปภาพที่ต้องการ
ภาพตัวอย่างที่ใช้ในอุปกรณ์ Clone Stamp Tool
Click เลือกอุปกรณ์
นำ Mouse ไปวางบนภาพที่ต้องการ Copy จากนั้นกดปุ่ม Alt ค้างไว้ แล้ว Click Mouse บนภาพซึ่งถือเป็นจุดเริ่มต้น
นำ Mouse ไปวางยังตำแหน่งบนพื้นที่ว่างที่จะทำการ Paste โดยการ Click เมาส์ค้างแล้วลากจะปรากฎรูปภาพที่ Copy ขึ้นมา Pattern Clone Stamp
วิธีการ
ใช้เครื่องมือ Selection เลือกบริเวณพื้นที่ที่ต้องการหรือใช้วิธีเลือกไฟล์ที่ต้องการทำ Pattern
เลือกคำสั่ง Edit >Define Pattern
จะเกิดหน้าต่าง Pattern name ให้พิมพ์ชื่อ แล้วกดปุ่ม OK
จากนั้นกลับไปยังพื้นที่หน้างานจากนั้นเลือกภาพ Pattern ที่ Option Bar หรือใช้คำสั่ง Edi t> Fill
Option Bar ขณะทำงานที่ Pattern Stamp Tool Healing Brush Tool
อุปกรณ์ Healing Brush & Patch Tool
เป็นเครื่องมือเหมือน Clone Stamp แต่ที่ช่วยปรับค่าสีให้ Background หรือ Layer มีความกลมกลืนกัน
วิธีการ : เหมือนกับ Clone Stamp Tool
Option Bar ขณะทำงานที่ Healing Brush Tool
21. การสร้างตัวอักษรลงในภาพ

อุปกรณ์ที่เกี่ยวกับการสร้างตัวอักษร(Type Tool)
การสร้างตัวอักษรใน Photoshop มี 2 แบบ คือ แบบตัวอักษรและแบบ Selection หรือ แบบโปร่งใสซึ่งสามารถพิมพ์อักษรได้ทั้งแนวนอนและแนวตั้ง
การสร้างข้อความโดยใช้เครื่องมือ Type Tool
วิธีการ
Click Tool Box
Click บน Option bar เพื่อพิมพ์ตัวอักษร (ถ้าเลือก...จะเป็น Selection)
Click บน Option bar เพื่อพิมพ์ตัวอักษรเป็นแนวนอน (ถ้าเลือก .....จะเป็นแนวตั้ง)
Click Mouse ลงบนพื้นที่ที่ต้องการพิมพ์ จากนั้นปรับค่าที่ Option Bar
กำหนดรูปแบบตัวอักษร ขนาดและสีของตัวอักษร เมื่อพิมพ์ก็ความเรียบร้อย
การแก้ไขข้อความ
ทำ Hightlight หรือด๊ากข้อความ
เลือกคำสั่ง Type Tool บน Toolbar จากนั้นก็แก้ไขบน Option Bar หรือ Click เลือกตรงปุ่ม Palette จะปรากฎ Character Palette ออกมา
พิมพ์ข้อความที่ต้องการแก้ไข เมื่อพิมพ์ก็ความเรียบร้อย กด 1. การเข้าสู่โปรแกรม Photoshop
Click Desktop
หรือ Click ปุ่ม Start>Program>Adobe Photoshop พื้นที่ทำงาน Memu Bar แถบกลุ่มคำสั่งสำหรับการทำงานทั้งหมดใน Photoshop Option Bar แถบสำหรับแสดงส่วนตัวเลือกหรือส่วนปรับแต่งเสริมการทำงานของเครื่องมือ (Tool) ที่เราเลือกใช้งานจากใน Tool Box Toolbox เป็นกล่องเก็บเครื่องมือต่างสำหรับใช้ทำงานบนพื้นที่งาน Active Image Area พื้นที่งานซึ่งสามารถเปิดทำงานพร้อมกันได้หลายๆ กรอบแต่สามารถเลือกทำงานได้ทีละกรอบเท่านั้น Palette Well ส่วนสำหรับจัดเก็บหน้าต่าง Palette ที่เราอาจจำเป็นต้องงานเป็นระยะๆ (แต่ไม่ตลอดเวลาเราสามารถเลือก Palette บางชิ้นมาใส่ไว้ใน Palette Well นี้ได้ Palette เป็นหน้าต่างย่อย สำหรับอำนวยความสะดวกในการทำงานและเป็นส่วนควบคุมส่วนย่อยในการทำงานด้วย เช่น กำหนดค่าสี การทำงานLayer บันทึกแก้ไขการทำงาน History
2. ก่อนจะเริ่มทำงานจะต้องกำหนดค่าให้กับมาเป็นค่า Default
Menu Window - Reset Palette Location - ใช้ Mouse Click ขวาที่ Option bar และเลือก Reset all tools การเปิดหน้างานใหม่ Menu File
New หรือ กด Ctrl + N
เกิดหน้าต่าง New
กำหนดค่างานสำหรับสร้างงานเวบไซต์
Name : ใส่ชื่อ
Image size : ขนาดของ File ซึ่งเปลี่ยนแปลงตามขนาด และ Resolution
Width : ความกว้าง เช่น Pixcel เซนติเมตร นิ้ว
Height : ความสูง เช่น Pixcel เซนติเมตร นิ้ว
Resolution : ค่าความละเอียด (ซึ่งความละเอียดบนหน้าจอ = 72)
Mode : ใช้ Mode RGB Color สำหรับงานออกแบบเวบไซต์
เกร็ดความรู้
ถ้าต้องการซ่อน Toolbar และ Palette ให้กดปุ่ม TAB
ถ้าต้องการซ่อนเฉพาะ Palette ให้กด Shift+TAB
4. การย่อ-ขยายภาพโดยใช้ Zoom Tool
การย่อ-ขยายภาพจะช่วยให้สามารถตกแต่งภาพได้ง่ายและมีความละเอียดมากขึ้นสามารถขนานภาพและตกแต่งได้จนถึงส่วนที่ย่อยที่สุดของภาพ คือ pixel ต่อ pixel
Zoom Tool เป็นเครื่องมือหนึ่งที่อยู่ใน Toolbox มีรูปร่างเหมือนแว่นขยายใช้ในการย่อหรือขยายภาพมีขั้นตอนการทำงานดังนี้ คือ
Click Mouse ที่ไอคอน ใน Toolbar
เมื่อเลื่อน Mouse เข้าไปบริเวณรูปภาพ ตัวชี้ Mouse จะเปลี่ยนไปเป็นรูปในขั้นตอนมีวิธีใช้ที่แตกต่างกันดังนี้
เมื่อต้องการขยายภาพให้เลือกบริเวณที่ต้องการ ขยายแล้ว Click เมาส์ ภาพบริเวณนั้นจะขยายออกและเมื่อClick เมาส์ไปเรื่อยๆ ภาพก็จะขยายขึ้นเรื่อยๆ
เมื่อต้องการย่อภาพให้กดปุ่ม Alt ค้างไว้ หลังจากนั้นเลือกบริเวณที่ต้องการย่อภาพและ Click เมาส์จะสังเกตเห็นว่าภาพบริเวณนั้นจะถูกย่อลง
5. กำหนดมุมมองของภาพโดยการใช้ Hand Tool
ในกรณีที่ภาพมีขนาดใหญ่ ไม่สามารถมองเห็นทุกส่วนของภาพได้ในหน้าจอเดียว สามารถเลื่อนภาพเพื่อดูภาพในทุกจุดได้ ภายในหน้าจอเดียวได้โดยไม่ต้องอาศัย Scrollbar อีกต่อไป ด้วยวิธีง่ายๆ คือการใช้ Hand Tool ที่อยู่ใน Toolbox
6 . Navigator Palette ศูนย์รวมการกำหนดมุมมอง
จากหัวข้อ ในรูปแบบต่างๆ ที่ Navigator Palette ดังต่อไปนี้ คือ
สามารถเรียกดู Navigator Palette ได้โดยการ Click เมาส์ที่
Window>Show Navigator
สังเกตว่า ภาพที่ใช้งานอยู่ ปรากฎใน Navigator Palette
กรอบสี่เหลี่ยมสีแดงสดพื้นที่ภาพที่แสดงบนหน้าต่างภาพ
เมื่อเลื่อน Mouse ไปที่กรอบสีแดง จะปรากฎ Click เมาส์และลากเส้นกรอบสีแดงไปยังพื้นที่ที่ต้องการดูใช้งานเหมือนคำสั่ง Hand Tool
บอกเปอร์เซ็นต์การขยายของภาพในขณะนั้น สามารถพิมพ์ตัวเลขกำหนดเปอร์เซ็นต์การขยายภาพเองได้ สังเกตว่า กรอบสีแดงจะเล็กลงเมื่ออัตราการขยายสูงขึ้นและภาพที่แสดงในหน้าต่างภาพก็จะมีขนาดใหญ่ขึ้นด้วย
Click เมาส์เพื่อปรับเปอร์เซ็นต์การย่อเป็น Step
แถบเลื่อนเพิ่ม-ลดอัตราการขยายของภาพ ทางขวาเพิ่ม ทางซ้ายลด
Click เมาส์เพื่อปรับเปอร์เซ็นต์การขยายเป็น Step
7. การสร้าง Selection
การสร้าง Selection คือ การเลือกพื้นที่เพื่อการแก้ไขและตกแต่งภาพ
การสร้าง Selection ในโปรแกรม Photoshop หมายความว่า หากต้องการปรับแต่งภาพต้องมีการเลือกพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งก่อน เนื่องจากภาพบางภาพต้องการปรับแต่งเฉพาะบางจุด
7.1 การ Selection โดยใช้ Marquee Tool
Marquee Tool เป็นเครื่องมือที่ทำให้การ Selection แบบมีรูปแบบตายตัว เช่น การเลือกพื้นที่เป็นรูปสี่เหลี่ยม วงกลม ด้วยวิธีง่ายๆ เพียงลาก Mouse ผ่านพื้นที่ภาพเท่านั้น Marquee Tool แบ่งตามลักษณะการใช้งานเป็น 4 รูปแบบ คือ
เครื่องมือในส่วนของ Marquee Tool
7.2 วิธีการใช้งาน Marquee Tool
เลือกรูปแบบ Selection โดยClick เมาส์ค้างไว้จะปรากฎรูปทรงต่างๆ ที่ซ่อนไว้ เลื่อนเมาส์ไปยังรูปแบบที่ต้องการและปล่อยเมาส์
เลื่อนเมาส์ไปยังบริเวณพื้นงาน ลูกศรที่เมาส์จะเปลี่ยนเป็นเครื่องหมาย + หลังากนั้นก็ Click และลากเมาส์ค้างในพื้นที่ที่ต้องการ
เมื่อได้พื้นที่ที่ต้องการแล้วให้ปล่อยเมาส์ก็จะเกิดเส้นประในบริเวณที่ถูกเลือก
7.3 Marquee Options
สามารถกำหนดคุณลักษณะต่างๆ ของ Marquee Tool ได้โดยClick เมาส์และเลือกที่ Option Bar ซึ่งจะแสดงดังรูป
Option Bar ขณะทำงานที่ Marquee Tool
7.4 การทำงานของ Marquee Options
ค่า Feather เป็นการกำหนดความฟุ้งเบลอของขอบที่เลือกซึ่งมีค่าตั้งแต่ 1 ถึง 255 เป็นการสร้างเส้นขอบ Selection ให้มีความฟุ้งเบลอและลดความลดเอียดของขอบที่ Selection ซึ่งจะเห็นการเปลี่ยนแปลงที่ชัดเจน เมื่อมีการตัด การก๊อปปี้ การเคลื่อนย้ายพื้นที่ที่เลือกนั้น หากค่าของ Feather มาก ความฟุ้งเบลอจะมากตามด้วย
7.5 Style ของ Marquee Options แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ
Normal เลือกอิสระ ขนาดของพื้นที่ที่เลือกจะเปลี่ยนแปลงไปตามตำแหน่งของเมาส์ที่เลื่อนไป
Constrained Aspect Ration เลือกแบบกำหนดค่ายืดหยุ่นตามอัตราส่วนความกว้าง ความสูงที่ได้กำหนดไว้ เช่น กำหนดให้ Width(ค่าความกว้าง) = 1 และ Height(ความสูง) =1 หมายถึงเมื่อลากเมาส์พื้นที่เลือกได้จะถูกบังคับให้เป็นอัตราส่วน 1:1
Fixed Size เลือกโดยกำหนดพื้นที่เลือกทั้งกว้างและความสูงอย่างเจาะจงแน่นอน
7.6 การเพิ่ม ตัด ลดและเคลื่อนย้ายพื้นที่ Selection
ในกรณีที่เลือกพื้นที่ภาพ กด ตัวชี้ Mouse จะเปลี่ยนเป็นรูปเครื่องหมาย + หลังจากนั้นให้ลากเมาส์ครอบพื้นที่ที้ต้องการ
ในกรณีที่เพิ่มพื้นที่เพิ่มเลือกกด Shift ค้างไว้ ลูกศรที่เมาส์จะเปลี่ยนเป็นรูปเครื่องหมาย + หลังจากนั้นให้Click เมาส์ค้างไว้และลากเมาส์ไปยังบริเวณที่ต้องการเพิ่มพื้นที่
ในกรณีต้องการลดพื้นที่ให้กด Alt ค้างไว้ ลูกศรที่เมาส์จะเปลี่ยนเป็นรูป + หลังจากนั้น Click เมาส์ค้างไว้และลากเมาส์ไปยังบริเวณที่ต้องการลดพื้นที่
8. การใช้ Selection โดยใช้ Lasso Tool
เครื่องมือในส่วนของ Lasso Tool
Lasso Tool เป็นการ Selection โดยการเลือกพื้นที่การทำงานแบบอิสระโดยการทำงาน คือ ลาก Selection ตามพื้นที่ที่ต้องการและจุดสิ้นสุดนั้นต้องบรรจบกลับที่จุดเริ่มต้นรูปแบบเครื่องมือ Lasso Tool
Lasso Tool เป็นการเลือกแบบอิสระ ผู้ใช้งานสามารถบังคับได้ด้วยมือผ่านการลากเมาส์ การใช้งานให้ Click เลือกเครื่องมือ Lasso Tool และใช้วิธีลากเมาส์ค้างในพื้นที่ที่ต้องการเลือกและจุดสุดท้ายให้บรรจบที่จุดแรก
Lasso Option
Anti-alliased เป็นช่วยให้พื้นที่เลือกเรียบ ไม่ขรุขระ ทำให้งานดูเรียบร้อยมากขึ้น
Option Bar ขณะทำงานที่ Lasso Tool
9. Polygonal Lasso Tool เป็นการเลือกแบบสร้างขอบเป็นเส้นตรงหลายเหลี่ยม
เป็นเลือกพื้นที่แบบรูปหลายเหลี่ยม โดยทำการ Click ที่จุดเริ่มต้น จากนั้นลากไปยังตำแหน่งที่ต้องการ จากนั้นแล้ว Click ตำแหน่งถัดไปซึ่งจะเกิดพื้นที่ที่เลือกเป็นแบบหลายเหลี่ยมจนกลับมายังจุดเริ่มต้นและ Click ที่ตำแหน่งเดิมจะเกิดเส้นประ Selection เกิดขึ้น
10. Magnetic Lasso Tool เป็นเครื่องมือที่ทำงานเกาะขอบพื้นที่สีที่ใกล้เคียง
การใช้งาน เลือกเครื่องมือ จากนั้น Click เมาส์ที่จุดเริ่มต้นจากเมาส์ลากไปยังบริเวณที่ต้องการเครื่องมือจะทำงานเลือกพื้นที่ในขอบเองโดยอัตโนมัติ การสิ้นสุดการทำงานโดยกลับไป Click จุดที่บรรจบกับจุดเริ่มต้นอีกครั้ง
11. Magic Wand Tool
Magic Wand Tool เป็นการเลือกพื้นที่อิงกับค่าสีของรูปเป็นสำคัญ โดยโปรแกรมจะเลือกเฉพาะค่าสีที่ใกล้เคียงที่ Click ดังนั้นวิธีนี้เหมาะสมกับการเลือกพื้นที่ที่ไม่มีสีแตกต่างกันหรือเป็นสีเดียวจะดีมาก
การใช้งาน
1. เลือกเครื่องมือ Magic Wand Tool
2. กำหนดค่าต่างบน Option Bar ดังนี้
Option Bar ขณะทำงานที่ Magic Wand Tool
Tolerance : กำหนดค่าสี
Anti-aliased : ทำให้ขอบเรียบไม่มีรอบขรุขระ
Contiguous : เป็นการเลือกบริเวณสีที่ใกล้เคียงกันเฉพาะกลุ่ม Pixel ที่ได้ Click เมาส์เท่านั้น
3. Click เมาส์บนพื้นที่ที่เลือกจะเกิดเส้นประบนพื้นที่ที่เลือก
12. การเคลื่อนย้ายภาพ
Move Tool
เป็นเครื่องมือในการเคลื่อนย้ายวัตถุ ภาพหรือพื้นที่ที่ต้องการให้เคลื่อนไปยังอีกที่หนึ่ง
วิธีการ
1. เลือกพื้นที่ (Selection) ที่ต้องการหรือรูปภาพที่ต้องการ
2. Click เมาส์เลือกอุปกรณ์
3. Click เมาส์ค้างและลากพื้นที่ที่เลือกหรือภาพที่ต้องการไปวางยังตำแหน่งที่ต้องการและปล่อยเมาส์
13. การเลือกสี
สามารถทำได้หลายวิธี
ใช้ที่ Color Palette โดยการเลือกสีที่ต้องการ จากนั้น สีจะเกิดบนช่องสี Forground
ใช้ Swatches Palette
ใช้ Eyedropper Tool เป็นเครื่องมือดูดสีที่เราต้องการ
14. การวาดและะบายสีภาพ
อุปกรณ์ Brush & Pencil Tool Brush Tool เป็นการระบายสี ซึ่งบางทีอาจต้องมีการตกแต่งภาพหรือใส่สี ซึ่งสามารถทำการเลือกรูปแบบของพู่กันและขนาดของพู่กันได้
วิธีการ
เลือกสีที่ต้องการ จากนั้น Click ที่แถบเครื่องมือ Paint Brush Tool
ลากเมาส์ค้างเพื่อระบายสีตามต้องการ (หากต้องการลากเป็นเส้นตรงให้กดปุ่ม Shift ค้างไว้)
Option ของ Paintbrush
Option Bar ขณะทำงานที่ Brush Tool
Mode : เป็นการกำหนดโหมดพิเศษของสี
Opacity : เป็นการกำหนดค่าโปร่งแสงของสี
Wet Edges : กำหนดเส้นขอบ
Fade : กำหนดค่าความเลือนของเส้น
Airbrush Tool : เป็นเครื่องมือที่ใช้พ่นสีจะมีความฟุ้งกระจายมากกว่าระบายด้วย Paint Brush
Pencil Tool
การทำงานเหมือน Paint Brush แต่เส้นที่เกิดขึ้นมีความคมชัดและมีขอบที่ชัดเจน
Option Bar ขณะทำงานที่ Pencil Tool
Option Bar ขณะทำงานที่ Pencil Tool
15. Eraser Tool
เป็นเครื่องมือที่ใช้สำหรับการลบเหมือนชื่อ ซึ่งประกอบด้วยคำสั่งย่อยๆ อีกคือ
อุปกรณ์ Eraser Tool
การใช้งาน
1. Click ที่อุปกรณ์ จากนั้นไปที่ Option bar เลือกขนาดและรูปแบบของยางลบ
2. Click หรือ Drag Mouse ไปยังจุดหรือพื้นที่ที่ต้องการลบ
Eraser Option
Brush เป็นการเลือกกำหนดขนาดหรือลักษณะของยางลบ
Opacity เป็นการกำหนดความโปร่งแสงของภาพ
Eraser to History เป็นการเรียกส่วนที่ลบคืนมา
Brush Dynamics เป็นการให้ค่าสีใน Background ระบายลงไปแทน
Background Eraser Tool
เป็นการลบค่าสี Pixel บน Layer ที่ Drag Mouse ผ่านให้มีลักษณะโปร่งแสง
การใช้งาน : เหมือน Eraser Tool
16. History Brush Tool
เป็นการลบเฉพาะส่วนที่ทำเพิ่มเติมลงในภาพ แต่จะไม่มีผลต่อภาพเดิม (Background) เป็นอันขาด
การใช้งาน : Click เลือกอุปกรณ์จากนั้น Drag Mouse ไปยังบริเวณที่ต้องการลบเครื่องมือเกี่ยวกับการเทสี
17. อุปกรณ์ที่เกี่ยวกับการเทสี
Gradientและ Paint Bucker Too) Paint Bucket Tool
เป็นการเทสีลงในภาพหรือพื้นที่ที่เลือก
การใช้งาน
Selection พื้นที่ที่ต้องการ
Click เลือกอุปกรณ์จากนั้น เลือกสีที่ต้องการจะเติม
Click บนพื้นที่ที่เลือก (Alt + Delete เป็นเมนูลัด)
Paint Bucket Tool Option bar
Option Bar ขณะทำงานที่ Paint Bucket Tool
คำสั่ง Fill เป็นการเลือกสีที่จะเติมสีแบบใด
Foreground สีของ Foreground
Pattern เติมแบบภาพลวดลาย
Mode กำหนดสีแบบพิเศษ
Opacity กำหนดค่าโปร่งแสง
Tolerance จำกัดขอบเขตในการระบาย
Anti-aliased กำหนดให้ขอบของสีที่เทลงไปเรียบ
Gradient Tool
เป็นการไล่โทนสีจากสีหนึ่งไปอีกสี่หนึ่ง โดยมีให้เลือกอยู่ 5 รูปแบบ
การใช้งาน
เลือกพื้นที่ที่ต้องการ
เลือกรูปแบบสีและการไล่สีที่ต้องการ
เลือกเครื่องมือ Gradient จากนั้นเลือกรูปที่ต้องการบน Option Bars
วิธีการเทสีให้ลากเมาส์ค้างตามตำแหน่งที่ต้องการในพื้นที่ที่เลือกไว้แล้ว
รูปแบบของการเทสีในลักษณะ Gradient Gradient Option Bar Option Bar ขณะทำงานที่ Gradient Tool
Mode กำหนดค่าสีพิเศษ
Opacity กำหนดค่าโปรงแสง
Reverse การไล่โทนสีกลับด้าน
Dither ความกลมกลืนของแถบสี
Transparency เป็นการปรับการโปร่งแสงและให้แสดงผลต่อหน้าจอ
18. การตกแต่งภาพ
ในการตกแต่งภาพเราสามารถใช้อุปกรณ์หลายประเภทในโปรแกรม Photoshop
Blur Tool Sharpen Tool & Smudge Tool
Blur Tool
เป็นเครื่องมือทำทำให้ส่วนที่ Click เบลอ
วิธีการ
เลือกอุปกรณ์ จากนั้น Click หรือ ลากเมาส์ไปยังบริเวณที่ต้องการทำงาน
กำหนดค่า Option Bar ซึ่งมีค่าที่น่าสนใจ ดังนี้
Option Bar ขณะทำงานที่ Blur Tool
Sharpen เลือกรูปแบบของอุปกรณ์ ขนาด และความฟุ้ง เลือกขนาดแปรง รูปแบบแปรง โดยการกดปุ่ม ลูกศร สามเหลี่ยม
Strength : เป็นการกำหนดค่าน้ำหนักและความเข้มของอุปกรณ์
Smudge Tool
เครื่องมือที่ช่วยเน้นความเข้มของภาพและเพิ่มความคมชัดโดยลดจำนวนสีในภาพลง
วิธีการ เหมือน Blur Tool
Option Bar ขณะทำงานที่ Sharpen Tool
19. เครื่องมือการปรับสีโทนของภาพ
อุปกรณ์ในส่วนของการปรับโทนสีภาพ (Dodge Burn & Sponge Tool)
Dodge Tool เป็นเครื่องมือที่ทำให้ภาพสว่างขึ้น
การใช้งาน : Option Bar ดังนี้
Brush เลือกขนาดแปรง รูปแบบแปรง โดยการกดปุ่ม ลูกศร สามเหลี่ยม
Range เป็นการเลือกรูปแบบการทำงาน
Shadows เป็นการปรับแต่งสีแบบเงา
Midtones เป็นการปรับแต่งสีให้ดูเป็นธรรมชาติ
Highlights เป็นการปรับแต่งสีแบบฟุ้งๆ หรือเน้นพื้นที่ที่จะทำงาน Hightlights
Option Bar ขณะทำงานที่ Dodge Tool Burn Tool
ทำให้สีของภาพดูเข้มขึ้น
การใช้งาน : เหมือน Dodge Tool Option Bar ขณะทำงานที่ Burn Tool Sponge Tool
เป็นการปรับค่า Saturate ของสี ทำให้สีมีความเข้มและจางในระดับต่างกัน
การใช้งาน : เหมือนกับ Blur Tool
Option Bar ขณะทำงานที่ Sponge Tool
20. การทำสำเนาภาพ
อุปกรณ์ที่ใช้ในการทำสำเนาภาพ (Clone Stamp & Pattern Stamp Tool)
Clone Stamp Tool
เป็นเครื่องมือในการ Copy วัตถุในภาพให้มีจำนวนเพิ่มขึ้น
วิธีการ
เลือกรูปภาพที่ต้องการ
ภาพตัวอย่างที่ใช้ในอุปกรณ์ Clone Stamp Tool
Click เลือกอุปกรณ์
นำ Mouse ไปวางบนภาพที่ต้องการ Copy จากนั้นกดปุ่ม Alt ค้างไว้ แล้ว Click Mouse บนภาพซึ่งถือเป็นจุดเริ่มต้น
นำ Mouse ไปวางยังตำแหน่งบนพื้นที่ว่างที่จะทำการ Paste โดยการ Click เมาส์ค้างแล้วลากจะปรากฎรูปภาพที่ Copy ขึ้นมา Pattern Clone Stamp
วิธีการ
ใช้เครื่องมือ Selection เลือกบริเวณพื้นที่ที่ต้องการหรือใช้วิธีเลือกไฟล์ที่ต้องการทำ Pattern
เลือกคำสั่ง Edit >Define Pattern
จะเกิดหน้าต่าง Pattern name ให้พิมพ์ชื่อ แล้วกดปุ่ม OK
จากนั้นกลับไปยังพื้นที่หน้างานจากนั้นเลือกภาพ Pattern ที่ Option Bar หรือใช้คำสั่ง Edi t> Fill
Option Bar ขณะทำงานที่ Pattern Stamp Tool Healing Brush Tool
อุปกรณ์ Healing Brush & Patch Tool
เป็นเครื่องมือเหมือน Clone Stamp แต่ที่ช่วยปรับค่าสีให้ Background หรือ Layer มีความกลมกลืนกัน
วิธีการ : เหมือนกับ Clone Stamp Tool
Option Bar ขณะทำงานที่ Healing Brush Tool
21. การสร้างตัวอักษรลงในภาพ

อุปกรณ์ที่เกี่ยวกับการสร้างตัวอักษร(Type Tool)
การสร้างตัวอักษรใน Photoshop มี 2 แบบ คือ แบบตัวอักษรและแบบ Selection หรือ แบบโปร่งใสซึ่งสามารถพิมพ์อักษรได้ทั้งแนวนอนและแนวตั้ง
การสร้างข้อความโดยใช้เครื่องมือ Type Tool
วิธีการ
Click Tool Box
Click บน Option bar เพื่อพิมพ์ตัวอักษร (ถ้าเลือก...จะเป็น Selection)
Click บน Option bar เพื่อพิมพ์ตัวอักษรเป็นแนวนอน (ถ้าเลือก .....จะเป็นแนวตั้ง)
Click Mouse ลงบนพื้นที่ที่ต้องการพิมพ์ จากนั้นปรับค่าที่ Option Bar
กำหนดรูปแบบตัวอักษร ขนาดและสีของตัวอักษร เมื่อพิมพ์ก็ความเรียบร้อย
การแก้ไขข้อความ
ทำ Hightlight หรือด๊ากข้อความ
เลือกคำสั่ง Type Tool บน Toolbar จากนั้นก็แก้ไขบน Option Bar หรือ Click เลือกตรงปุ่ม Palette จะปรากฎ Character Palette ออกมา
พิมพ์ข้อความที่ต้องการแก้ไข เมื่อพิมพ์ก็ความเรียบร้อย กดปุ่ม Enter
22. การสร้างหน้างานเพื่อสร้างแวบไซต์ วิธีการ Menu File > New (Ctrl+N) - กำหนดค่าหน้างาน Name ชื่องาน > Preset : Custom > Width : 770 Pixels > Height : 420 Pixels (อาจกว้างกว่านี้ขึ้นอยู่กับงานResolution : 72 Pixels/inch > Color Mode : RGB > Background Contect : White >Toolbox > Menu Bar Barba Bar > Option Bar > Palette Well > Active Image Area
ปุ่ม Enter
22. การสร้างหน้างานเพื่อสร้างแวบไซต์ วิธีการ Menu File > New (Ctrl+N) - กำหนดค่าหน้างาน Name ชื่องาน > Preset : Custom > Width : 770 Pixels > Height : 420 Pixels (อาจกว้างกว่านี้ขึ้นอยู่กับงานResolution : 72 Pixels/inch > Color Mode : RGB > Background Contect : White >Toolbox > Menu Bar Barba Bar > Option Bar > Palette Well > Active Image Area